Loading...

ผศ.ดร.เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์


ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อีเมล :  samoekans@gmail.com และ samoekan@lsed.tu.ac.th
โทรศัพท์ : 02-696-5000 ต่อ 6751

ประวัติ
• ค.ด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• ค.บ. (มัธยมศึกษา) วิชาเอก: ภาษาไทยและเทคโนโลยีการศึกษา เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความสนใจทางวิชาการ

• การเรียนรู้แบบโมบายเลิร์นนิง (Mobile Learning)
• การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
• การเรียนออนไลน์ (Online Learning)
• การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
• ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
• การคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving)
• การออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design)
• เกมเพื่อการเรียนรู้ (Educational Game)
• การเรียนรู้ผ่านการเล่น (Play-based Learning)
• การรู้เท่าทันดิจิทัล (Digital Literacy)
• จิตวิทยาดิจิทัล (Cyberpsychology)

ความเชี่ยวชาญ

• การเรียนรู้แบบโมบายเลิร์นนิง (Mobile Learning)
• การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
• การเรียนออนไลน์ (Online Learning)
• การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
• ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
• การคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ (Creative Problem Solving)

ผลงานทางวิชาการ

เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์. (2563). การสำรวจผลการประยุกต์เครื่องมือสื่อสารไร้สายในการเรียนวิชาทั่วไปของนักศึกษา
       ระดับอุดมศึกษา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14 (2), เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2563.

พุทธชาด อังณะกูร, สุรวิทย์ อัสสพันธ์ุ, เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์. (2562). การสังเคราะห์คุณลักษณะเชิงบูรณาการความรู้
       ด้านเทคโนโลยี การจัดการเรียนการสอนและเนื้อหากลุ่มสาระวิชา สำหรับนิสิตนักศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ศึกษาและ
       คณิตศาสตร์ศึกษา. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 14 (2), 87 - 103.

สุรวิทย์ อัสสพันธ์ และ เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์. (2561). การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและเกณฑ์ปกติของแบบ
       วัดความสามารถในการปรับตัวทางอาชีพ (Career Adapt-Abilities Scale) ฉบับภาษาไทย ของนักศึกษาปริญญาตรี ใน
       เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์, 19 (2), 167 – 181.

ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ และ เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์. (2560). มาตรฐานและแนวปฏิบัติการเรียนการสอน MOOC ที่ได้
       รับการยอมรับระดับนานาชาติ (120 หน้า). กรุงเทพฯ: โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

Sophonhiranrak, S., Suwannatthachote, P., & Ngudgratoke, S. (2015). Factors Affecting Creative
       Problem Solving in the Blended Learning Environment: A Review of the Literature. Procedia -
       Social and Behavioral Sciences, 174(1982), 2130–2136.

ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ, เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และสุมาลี เชื้อชัย (2556). การศึกษาเพื่อเสนอแนวทาง
       สําหรับออกแบบกลยุทธ์การสอนและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เชิงเสมือนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์.
       บทความวิจัยนําเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง (National e-Learning Conference,
       NEC2013) กรุงเทพฯ: โครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2555). มุมมองของผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงใน
       โปรแกรมอีเลิร์นนิง เพื่อส่งเสริมการนําการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงไปใช้ในระดับอุดมศึกษา. บทความวิจัย
       นําเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง (National e-Learning Conference, NEC2012)
       กรุงเทพฯ: โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ, เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และ ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน. (2554). การเรียนการสอนแบบ
       ผสมผสาน: ข้อเสนอแนะการส่งเสริมการยอมรับของผู้สอน และการจัดการเรียนที่ส่งผลต่อ การเรียนรู้แบบนําตนเอง
       ของนักศึกษา. วารสารร่มพฤกษ์, 29(1), 66 – 88.

เสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์ และปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2553). ปัจจัยการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่
       ส่งผลต่อการเรียนรู้แบบนําตนเองของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต. บทความวิจัยนําเสนอในการประชุม วิชาการระดับ
       ชาติด้านอีเลิร์นนิง (National e-Learning Conference, NEC2010) กรุงเทพฯ : จัดโดยโครงการมหาวิทยาลัย
       ไซเบอร์ไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.