ผศ.ดร.ชลิดา จูงพันธ์
ผู้อำนวยการหลักสูตรปริญญาตรี
อีเมล : chalida@lsed.tu.ac.th
โทรศัพท์ : 02-696-5000 ต่อ 6737
ประวัติ
• ปร.ด. (บรรพชีวินวิทยา) นานาชาติ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
• วท.ม.(ชีววิทยา)
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
• วท.บ. (ชีววิทยา) เกียรตินิยมอันดับ 1
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ความสนใจทางวิชาการ
• ชีววิทยาของไดโนเสาร์ (biology of dinosaurs)
• ความหลากหลายทางชีวภาพ ชีวภูมิศาสตร์ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต (biodiversity, biogeograpgy and evolution of living thing )
• ความหลากหลายทางชีววิทยาและการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Biodiversity and Environmental Learning for Sustainable Development )
• วิทยาศาสตรศึกษา (Science Education)
• การสอนธรรมชาติวิทยา (Natural Science Teaching)
ผลงานทางวิชาการ
ปริญญา มงคลพาณิชย์ และชลิดา จูงพันธ์. (2565). วิเคราะห์แบบเรียนวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ของไทยในระหว่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) – 12 (พ. ศ.
2560-2564). วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10(5), 1909-1925.
ชลิดา จูงพันธ์ และนฤพจน์ พุทธวัฒนะ (2563). การศึกษาการออกแบบเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาใน
โรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Eco-School) กรณีศึกษาโรงเรียนในจังหวัด
ปทุมธานี. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้. 11(1).
ชลิดา จูงพันธ์. (2562). ไดโนเสาร์ในห้องเรียน : การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางบรรพชีวินวิทยาในด้าน
วิทยาศาสตร์ศึกษา. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 47(3). 157-174.
ชลิดา จูงพันธ์. (2562). การเรียนรู้คุณค่าทางบวกจากศิลปินไอดอลของกลุ่มแฟนคลับ กรณีศึกษากลุ่มแฟน
คลับศิลปิน BNK48. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี
2562 เรื่อง การศึกษาในยุคดิจิทัล: ความท้าทายของมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (proceeding). 10
มิถุนายน 2562. มหาวิทยาลัยมหิดล, 454-464.
นุชรี บัวโค, สุรวิทย์ อัสสพันธุ์, ชลิดา จูงพันธ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการ
ระดับชาติครั้งที่ 4 ประจำปี 2562 (proceeding). 31 พฤษภาคม 2562. วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปภัมภ์ จังหวัดปทุมธานี. 795-803.
ไอยเรศ บุญฤทธิ์, กิตติ คงตุก, ชลิดา จูงพันธ์, ฐิติกาญจน์ อัตศรกุล, กานน คุมพ์ประพันธ์. (2562). โครงการ
วิจัยเรื่อง “การศึกษาแนวทางการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม”. โครงการผู้นำแห่ง
อนาคต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Wichaidit, S., Assapun, S., Putwattana, N., Joongpan, C., Tabthong, S., & Chowicharat, E. (2019).
The STEM flower: The designing tool for effective STEM instruction. AIP Conference
Proceedings, 2081, art. no. 030015 doi:10.1063/1.5094013.
ชลิดา จูงพันธ์. (2561). การเดินทางครั้งใหม่ของชาวไทยเบิ้ง บ้านโคกสลุง. ในฐิติกาญจน์ อัศตรกุล,
กานน คุมพ์ ประพันธ์, ชลิดา จูงพันธ์, กิตติ คงตุก, วาสนา ศรีปรัชญาอนันต์, และ ไอยเรศ บุญฤทธิ์, จุด
นัดพบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสังคม. (น. 182-231). นครปฐม: โครงการผู้นำแห่ง
อนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Deesri, U., Lauprasert, K., Suteethorn, S., Suteethorn, V., Laojumpon, C., Khamha, S., & Cavin, L.
(2013). A new site with articulated fish remains (Actinopterygii: Holostei) from the Late Triassic
of Thailand. Abstract from 6th International Meeting on Mesozoic Fishes, Vienna, Austria.
Laojumpon, C., Suteethorn, V., & Lauprasert, K. (2012). Morphological Variation of Truncate-Snouted
Burrowing Frog (Glyphoglossus molossus) of Thailand. The 4th Science research conference,
12-13 March, 2012, Naresuan University, Thailand.
Laojumpon, C., Matkhammee, T., Wathanapitaksakul, A., Suteethorn, V., Suteethorn, V., Lauprasert, K.,
Srisuk, P., & Le Loeuff, J. Preliminary report on coprolites from the late Triassic of Thailand.
New Mexico Museum of Natural History and Science, Bulletin. Hunt et al., eds., 2012, Vertebrate
Coprolites. New Mexico Museum of Natural History and Science, Bulletin 57.
Lauprasert, K., Laojumpon, C., Saenphala, W., Cuny, G., Thirakhupt K., & Suteethorn, V. (2011)
Atoposaurid crocodyliforms from the Khorat Group of Thailand: first record of Theriosuchus
from Southeast Asia. Paläontologische Zeitschrift 85 (1), 37-47.
Claude, J.,Naksri W., Boonchai, N.,Buffetaut, E., Duangkrayom, J.,Laojumpon, C., Jintasakul, P.,
(...), & Tong, H. (2011) Neogene reptiles of northeastern Thailand and their paleogeographical
significance Annales de Paleontologie 97 (3-4) , pp. 113-131.
Cuny, G., Laojumpon, C., cheychiw, O., & Lauprasert, K. (2010) Fossil vertebrate remains from
Kut Island (Gulf of Thailand, Early Cretaceous) Cretaceous Research 31 (4) , pp. 415-423.
Cuny, G., Cheychiw, O., Laojumpon, C., & Lauprasert, K. New data on Heteroptychodus
(Elasmobranchii: Hybodontiformes) from the Lower Cretaceous of Thailand. In 2nd International
Conference on Palaeontology of Southeast Asia (ICPSEA 2010).
Cuny, G., Cheychiw, O., Laojumpon, C., & Lauprasert, K. A new species of Heteroptychodus
(Elasmobranchii: Hybodontiformes) from the Lower Cretaceous of Thailand. In Fifth International
meeting on Mesozoic fishes. Global diversity and evolution.
Laojumpon, C., Deesri, U., Khamha, S., Wattanapituksakul, A., Lauprasert, K., Suteethorn, S., &
Suteethorn, V. New vertebrate-bearing localities in the Triassic of Thailand. J Sci Technol MSU.
(33)4, 335-343.
รางวัลและความสำเร็จ
• รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่นระดับคณะ ประจำปี 2563