Loading...

รศ.ดร.ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล


รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
อีเมล : t.assatarakul@gmail.com
โทรศัพท์ : 02-696-5000 ต่อ 6749

ประวัติ
• ศศ.ด. (ประชากรศาสตร์)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• ศศ.ม. (สังคมวิทยาประยุกต์)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• ศษ.บ. (การประถมศึกษา) เกียรตินิยมอันดับสอง
มหาวิทยาลัยศิลปากร

ความสนใจทางวิชาการ
• การวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์ (Demographic Analysis)
• การจัดระบบการศึกษาเพื่อรองรับสังคมสูงวัย (Education System for Ageing Society)
• การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างวัย (Intergenerational Learning)
• การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)

ผลงานทางวิชาการ

ลินดา เยห์ และ ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงบนฐานการเรียนรู้เชิง
          ประสบการณ์ของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารพัฒน
          ศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2(2), 102-139.

มนกนก ภาณุสิทธิกร, สุรวิทย อัสสพันธุ์ และ ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2563). กระบวนการเรียนรู้ของผู้ประกอบการสตาร์ทอัพ.
          ใน รายงานการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 "Global Goals, Local Actions:
           Looking Back and Moving Forward 2020” (น. 594-604). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

บุณยนุช เนจาด ชมแป้น, ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล และ ไอยเรศ บุญฤทธิ์. (2563). กระบวนการเรียนรู้ ความท้าทายและการรับมือ
          ของนักแปลอิสระ: พหุกรณีศึกษา นักแปลอิสระไทยที่รับแปลตัวบทเฉพาะทางจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย. ในรายงาน
          การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 "Global Goals, Local Actions: Looking
          Back and Moving Forward 2020” (น. 594-604).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

พิชญา หุยากรณ์, ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล และ ฝน นิลเขต. (2561). การเปลี่ยนผ่านบทบาทและการเรียนรู้ตลอดชีวิตหลัง
          เกษียณอายุของอาจารย์มหาวิทยาลัย. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
          กำแพงแสน ครั้งที่ 15 (น. 794-806). นครปฐม:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2562). แบบแผนและปัจจัยกำหนดการใช้เวลาในการเรียนรู้ของผู้สูงอายุไทย. วารสาร
          วิจัยทางการศึกษา, 14(1), 89-104.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2562). หนึ่งทศวรรษทฤษฎีที่ใช้ในหลักสูตรการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สูงอายุและเด็ก.
          วารสารครุศาสตร์, 47(1), 63-83.

Ojanen, T. T., Burford, J., Juntrasook, A., Kongsup, A., Assatarakul, T., & Chaiyajit, N. (2018).
          Intersections of LGBTI exclusion and discrimination in Thailand: The role of socio-economic status.
          Sexuality Research & Social Policy Advance online.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2561). การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สูงอายุและเด็ก: รูปแบบและผลลัพธ์ของหลักสูตร. 
          วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 11(1), 226-242.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2561). มูลนิธิบ้านครูน้ำบนก้าวต่อไป. ใน ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล (ผู้เขียน), กานน คุมพ์ ประพันธ์, 
          ชลิดา เหล่าจุมพล, กิตติ คงตุก, วาสนา ศรีปรัชญาอนันต์, และ ไอยเรศ บุญฤทธิ์, จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผู้คน 
          ชุมชน การประกอบการสังคม. (น. 44-111). นครปฐม: โครงการผู้นำแห่งอนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และ
          ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2560). บทสังเคราะห์. ใน กิตติ คงตุก, ชลิดา เหล่าจุมพล, วาสนา ศรีปรัชญาอนันต์, 
          และฐิติกาญจน์ อัศตรกุล (ผู้เขียน), ใจคน ชุมชน การเปลี่ยนแปลง : บทเรียนการนำร่วมจากผู้ขับเคลื่อนสังคม. 
          (น. 230-281). นครปฐม: โครงการผู้นำแห่งอนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ 
          มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2560). ปฐมบทแห่งเส้นทางการนำ. ใน กิตติ คงตุก, ชลิดา เหล่าจุมพล, วาสนา ศรีปรัชญา อนันต์,
          และ ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล (ผู้เขียน), ใจคน ชุมชน การเปลี่ยนแปลง : บทเรียนการนำร่วมจากผู้ขับเคลื่อนสังคม.
          (น. 12-37). นครปฐม: โครงการผู้นำแห่งอนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ 
          มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Assatarakul, T. (2015). Socio-Economic Activities of the Elderly in Thailand. Population 
          Review, 54(1), 84-101.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล และวรเวศม์ สุวรรณระดา. (2558). สถานการณ์และการประมาณการมูลค่าเชิงเศรษฐกิจของการ
          ทำกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้สูงอายุไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 41(2), 76-90.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2555, พฤศจิกายน). แนวทางส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างชายหญิง: ศึกษาวิเคราะห์ดัชนี
          วัดความไม่เสมอภาคหญิงชาย. เอกสารนำเสนอในที่ประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ 2555, กรุงเทพฯ.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2554, มีนาคม). ความเบี่ยงเบนของวัยรุ่นในโลกไซเบอร์. เอกสารนำเสนอในการสัมมนาเครือข่าย
          นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 10, เชียงใหม่.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2564). กะเทาะเปลือกแนวคิดและแนวปฏิบัติ “การเรียนรู้ ร่วมกันระหว่างวัย: ผู้สูงอายุ และ เด็กหรือเยาวชน”.
           นนทบุรี: ภาพพิมพ์.

ฐิติกาญจน์ อัตศรกุล. (2564). หลากสี ต่างเลนส์ ว่าด้วยแนวคิดทฤษฎีนำร่วมเคลื่อนสังคม. [e-book]. นครปฐม : โครงการผู้นำ
          แห่งอนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Yeh, L. & Assatarakul, T. (2020). Living between two worlds: A systematic review of twice
           exceptional (2e) learners. Paper presented at the 5th International Conference on
           Innovative Education and Technology (ICIET 2020). 16-17 September 2020. Bangkok, Thailand.

ฐิติกาญจน์ อัศตรกุล. (2566). นิเวศการเรียนรู้ กับการพัฒนาสมรรถนะ ปทุมธานี:
           คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.