Loading...

ผศ.ดร.อัครา เมธาสุข


ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กรและพัฒนาบุคลากร
อีเมล : makara@tu.ac.th
โทรศัพท์ : 02-696-5000 ต่อ 6725

ประวัติ
• ปร.ด. (ประสาทวิทยาศาตร์) นานาชาติ
มหาวิทยาลัยมหิดล
• วท.บ. (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
• ประกาศนียบัตร (เพศวิทยาคลินิก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ความสนใจทางวิชาการ
• จิต สมอง และการศึกษา (Mind, Brain, and Education)
• การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning)
• รสนิยมทางเพศนอกบรรทัดฐาน (Sexual Kink and Fetishism)
• การดำรงชีวิตและการสิ้นสุดของชีวิต (Living and Ending-of-Life)
• การพัฒนาชุมชนและเมือง (Community and City Development)

ความเชี่ยวชาญ


• ประสาทศึกษาศาสตร์ (Neuroeducation)

• ประสาทวิทยาศาสตร์การศึกษา (Educational Neuroscience)

ผลงานทางวิชาการ


นรุตม์ ศุภวรรธนะกุล, และ อัครา เมธาสุข. (2565). ภายใต้ระบบแห่งภาพลักษณ์และความกลัว: มายาคติทางเพศที่มีอิทธิพลต่อ

         พฤติกรรมและทัศนคติของนักเรียนในพื้นที่การศึกษาไทย. ในใต้พรมแห่งความดีงาม: สำรวจและรื้อถอนมายาคติทางการ

         ศึกษาในสังคมไทย. โครงการผู้นำแห่งอนาคต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (หนังสือ)

อัครา เมธาสุข, และ อักษรา ศิลป์สุข. (2564). การอำนวยกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง สำหรับการพัฒนาชุมชนและ

         เมืองแบบสอดประสาน. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). DOI: 

         https://doi.org/10.14456/jcdr-hs.2021.29.

อัครา เมธาสุข, และนรุตม์ ศุภวรรธนะกุล. (2563). เยาวชน "สายดาร์ก" ออนไลน์. คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์, 

         มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (รายงานวิจัย)

Metasuk, A., Kitiyanant, N., & Chetsawang, B. (2021). An expression system of channelrhodopsin-2 driven by a 

         minimal Arc/Arg3. 1 promoter and Tet system was developed in human neuroblastoma cells. Plasmid, 117, 

  1. DOI: 10.1016/j.plasmid.2021.102597.

Metasuk, A., Kitiyanant, N., & Chetsawang, B. (2020). Expression of nano-ferritin in neuronal cells encompassed 

         by minimal Arc promoter system. Biochemical and biophysical research

         communications, 526(3), 574-579. DOI: 10.1016/j.bbrc.2020.03.105.

อัครา เมธาสุข. (2560). การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ในประเทศไทย. คณะวิทยาการ

         เรียนรู้และศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (รายงานวิจัย)