Loading...

หลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาความสามารถ (Curriculum, Pedagogy and Competency Development

ศึกษาและพัฒนาปัจจัยพื้นฐานด้านการศึกษาใน 4 ด้าน ได้แก่ งานหลักสูตร การวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาครู โดยมีเป้าหมายเพื่อ ปรับกระบวนทัศน์และสร้างกระบวนการที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสังคมของการศึกษา ให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งมีสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาความสามารถ และศักยภาพของคน รวมทั้งมีการติดตามความเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนรู้ในระยะยาว (Longitudinal studies for Transformation of learning) เพื่อจะนำไปสู่การพัฒนาต่อยอดอย่างยั่งยืน

รายชื่อนักวิจัย
อ. อธิษฐาน์ คงทรัพย์
ดร. สุรวิทย์ อัสสพันธุ์
อ. อัครา เมธาสุข
ดร. ปรางใส เที่ยงตรง
ดร. นฤพจน์ พุธวัฒนะ
ดร. ธนิตา ศิริรัตน์
อ. ศราวุธ จอมนำ
อ. ธนชพร พุ่มภชาติ
อ. ศิริวรรณ บุญอนันต์
ดร. สุทธิพร สัจพันโรจน์ (ผู้ประสานงาน)

โครงการวิจัย

โครงการที่ชื่อโครงการวิจัยแหล่งทุนชื่อผู้วิจัยระยะเวลาดำเนินการ
1การสำรวจพรมแดนความรู้เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ทางด้านการศึกษา (A Review on Artificial Intelligence in Education)คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์อ.เอกวัจน์ เชาว์วิชารัตน์ปี58 - ปี59
2การสำรวจพรมแดนความรู้ด้านการใช้ศิลปะการละครในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ (A review on the use of drama to transform learning)คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์อ. ดร.ปวีณา  แช่มช้อยปี58 - ปี59
3การบูรณาการนาโนวิทยาในสะเต็มศึกษา (Integration of Nanoscience in STEM Education)คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์อ. ดร.ปรางใส  เที่ยงตรงปี58 - ปี59
4การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ในประเทศไทย (Review of Applications of Neurosciences in Thai Education)คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์อ.อัครา  เมธาสุขปี58 - ปี59
5การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างวัย: การทบทวนองค์ความรู้และแนวทางการจัดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างเด็กและผู้สูงอายุ (Intergenerational Learning: An Extensive Review Literature and Guidelines to Process the Intergenerational Learning between Children and Elderly)คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์อ.ดร.ฐิติกาญจน์ อัศตรกุลปี59
6ไดโนเสาร์ในห้องเรียน : การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางบรรพชีวินวิทยาในด้านการศึกษา (Dinosaurs in the Classroom : A Review of Applications of Palaeontology in Education)คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์อ.ชลิดา เหล่าจุมพลปี59
7กระบวนการ Active Learning เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนชีววิทยาในระดับชั้นมัธยมศึกษา (Active Learning in Biology Teaching and Learning Process for the Secondary Level)คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์อ.ดร.นฤพจน์ พุธวัฒนะปี59