การรวบรวมและเผยแพร่ผลงานการเรียนรู้ของนักศึกษาและบุคลากรภายในคณะ พร้อมทั้งเป็นหน่วยประสานงานกับหน่วยงานที่สนใจ เพื่อขยายผลหรือต่อยอดผลงาน
ส่วนที่ 3 การรวบรวมและเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาและบุคลากรภายในคณะและโรงเรียนสาธิตฯ ในรูปแบบแหล่งการเรียนรู้แบบเปิด (OERs)
Lifelong learning หรือ การเรียนรู้ที่ไม่มีวันสิ้นสุด จากประโยคในนี้ ปัจจุบันเราจะเห็นว่าการศึกษาหรือการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญมากในชีวิต โดยเฉพาะอาชีพครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา หรือแม้กระทังองค์กรชั้นนำที่กำลังมาให้ความสำคัญ ส่งผลให้มีการเสาะหา สร้างอุปกรณ์ เปิดเวทีพูดคุย ไอเดียและวิธีการต่างๆ ในเรื่องการศึกษาทั้งแบบออฟไลน์-ออนไลน์ มีมากขึ้น
สำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนาการเรียนและการสอน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ให้ความสำคัญและกำลังเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนการศึกษา ซึ่งได้มีการสร้างแหล่งความรู้แบบเปิดหรือ Open educational resources (OER) โดยได้นำผลงานสร้างสรรค์(Creative Project) ของนักศึกษาที่อยากแบ่งปันไอเดียนวัตกรรมการศึกษา ให้กับบุคคลภายนอกได้ศึกษา และเป็นแรงผลักดันในการสร้างการเปลี่ยนในการศึกษา โดยแหล่งความรู้แบบเปิด (OER) มีผลงานสร้างสรรค์ในหลายๆ ด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย
1) นโยบายการศึกษา
2) การเรียนรู้ของผู้สูงอายุ
3) การเรียนรู้ของเยาวชน
4) การเรียนรู้ตลอดชีวิต
5) ศิลปะเพื่อการรู้จักตนเอง
6) การสื่อสารระหว่างคนต่างเจน
7) สื่อการเรียนการสอน
8) ความหลากหลายและการแสดงออกทางเพศ
9) มายาคติทางการศึกษา
10) อื่นๆ
ศูนย์วิจัยฯ ทำหน้าที่รวบรวมและเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาและบุคลากรของคณะฯ และโรงเรียนสาธิตฯ สำหรับผู้ที่สนใจผลงานเพิ่มเติม สามารถศึกษาผลงานของนักศึกษาเพิ่มเติมได้จาก
o แหล่งการเรียนรู้แบบเปิด
สำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนาการเรียนและการสอน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ให้ความสำคัญและกำลังเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนการศึกษา ซึ่งได้มีการสร้างแหล่งความรู้แบบเปิดหรือ Open educational resources (OER) โดยได้นำผลงานสร้างสรรค์(Creative Project) ของนักศึกษาที่อยากแบ่งปันไอเดียนวัตกรรมการศึกษา ให้กับบุคคลภายนอกได้ศึกษา และเป็นแรงผลักดันในการสร้างการเปลี่ยนในการศึกษา โดยแหล่งความรู้แบบเปิด (OER) มีผลงานสร้างสรรค์ในหลายๆ ด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย
1) นโยบายการศึกษา
2) การเรียนรู้ของผู้สูงอายุ
3) การเรียนรู้ของเยาวชน
4) การเรียนรู้ตลอดชีวิต
5) ศิลปะเพื่อการรู้จักตนเอง
6) การสื่อสารระหว่างคนต่างเจน
7) สื่อการเรียนการสอน
8) ความหลากหลายและการแสดงออกทางเพศ
9) มายาคติทางการศึกษา
10) อื่นๆ
ศูนย์วิจัยฯ ทำหน้าที่รวบรวมและเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาและบุคลากรของคณะฯ และโรงเรียนสาธิตฯ สำหรับผู้ที่สนใจผลงานเพิ่มเติม สามารถศึกษาผลงานของนักศึกษาเพิ่มเติมได้จาก
o แหล่งการเรียนรู้แบบเปิด
ช่องทางการติดต่อ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเรียนและการสอน
ห้องโครงการวิจัย (212) เลขที่ 99 คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หมู่ 18 อาคารสิริวิทยลักษณ์ ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121
ห้องโครงการวิจัย (212) เลขที่ 99 คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หมู่ 18 อาคารสิริวิทยลักษณ์ ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121
โทร. 02 696 6713 คุณณัฐริกา ปฐวีไพสิฐ (โอปอ) เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์วิจัยฯ
E-mail: research_center@lsed.tu.ac.th หรือ nattarika.pa@lsed.tu.ac.th